รัฐวิสาหกิจไทย

  • ผู้เริ่มหัวข้อ ผู้เริ่มหัวข้อ A31324
  • วันที่เริ่มต้น วันที่เริ่มต้น

กรุณาปิด โปรแกรมบล๊อกโฆษณา เพราะเราอยู่ได้ด้วยโฆษณาที่ท่านเห็น
Please close the adblock program. Because we can live with the ads you see

A31324

ลอยตัว...
Cefiro-Thailand Members
เข้าร่วม
19 ก.พ. 2007
ข้อความ
1,488
  • กระทู้ ผู้เขียน
  • #1
ผลงานชิ้นโบแดงของรัฐบาลขิงแก่ ออกมาแล้วโดยไม่คาดฝัน และมีลักษณะก้าวหน้าอย่างประหลาดพอสมควรทั้งที่โฆษกของคณะรัฐมนตรีจะออกมาแถลงข่าวอย่างไม่รู้สึกรู้สาที่กำลังแถลงนั้นสำคัญอย่าไร

คนส่วนหนึ่งถึงกับเข้าใจผิดไปในสาระสำคัญว่ารัฐบาลขิงแก่กำลังหาทางเพื่มเงินอุดหนุนรัฐวิสาหกิจมากขึ้นไปอีก ความจริงแล้วไม่ใช่หลงประเด็น

สาระสำคัญของมติครม. อยู่ที่ว่า การจัดระเบียบรัฐวิสาหกิจใหม่ของสคร.( สำนักรัฐวิสาหกิจฯ) ต้องการแยกให้เห็นชัดเจนในเรื่องบทบาทหน้าที่หรือฟังก์ชั่นของรัฐวิสหกิจให้ชัดเจนเพื่อการกำกับดูแลจะมีความรัดกุมมากขึ้น

โดยเฉพาะเรื่องเกี่ยวกับ การจัดการบริหาร "เชิงพาณิชย์" เพื่อแสวงหากำไรกับ " เชิงสังคม" เพื่อบริการประชาชน

ทั้งสองเรื่องนี้เคยป็นที่ถกเพียงกันยาวนานถึงปัญหาภารกิจและความจำเป็นต้องดำรงอยู่หรือไม่ของบรรดารัฐวิสหกิจที่กระทรวงการคลังต้องเอาเงินของประชาชนไปถือหุ้นอยู่ และยิ่งถกเถียงกันก็ดูเหมือนเส้นแบ่งจะยิ่งพร่ามัวมากขึ้นด้วยซ้ำไป

ถึงเวลานี้ เมื่อมีการจัดระเบียบใหม่ก็จะทำให้ความชัดเจนขึ้นมากกว่า อย่างน้อยก็เมื่อมองจากภายนอก และที่สำคัญ จะช่วยให้ผู้บริหารรัฐวิสหกิจ และคณกรรมการกำกับดูและรัฐวิสหกิจ มีทิศทางของตนเองที่ชัดเจนมากขึ้น ไม่สะเปะสะปะเสียสนหาทิศหาทางไม่เจอเหมือนที่ผ่านมา จนมีความเชื่อกันว่า รัวิสหกิจคือแหล่งทำมาหากินของบรรดาเหลือบในอำนาจรัฐและการเมือง

การจัดการเชิงพาณิชย์ เพื่อแสวงหากำไร มีความหมายว่า รัฐวิสหกิจ จะต้องเดินหน้าไปสู้การแข่งขันกับธุรกิจเอกชนอื่นๆ โดยมีเป้าหมายสำคัญคือ ไม่ใช้อภิสิทธิ์เพื่อผูกขาดตลาดหรือใช้อำนาจรัฐเบียดขับธุรกิจเอกชนอย่างเอารัดเอาเปรียบซึ่งไม่ใช่เป้าหมายของเศรษฐกิจเสรี

ตัวอย่างเช่น ทีโอที คอร์ปอเรชั่น จะต้องตอบคำถามให้ได้ว่า ทำไมการจัดการบริหารโทรษัพท์และโทรคมนาคมแก่ประชาชนที่มีจำนวนเลขหมายใกล้เคียงกับเอกชนที่รับสัมปทานจึงต้องใช้พนักงานกว่า 2.5 หมื่นคน ในขณะที่ ทรูและทีทีแอนท์ที มีจำนวนรวมกันแค่ 1 หมื่นคนเท่านั้น

ส่วนการจัดการเชิงสังคม นั้นหมายความว่า รัฐวิสหกิจไม่ได้มุ่งแสวงหากำไรเป็นหลัก ดังนั้น หากเกิดการขาดทุนขึ้นกระทรวงการคลังมีหน้าที่ต้องอัดฉีดเงินเข้ามาอุดหนุนตามเป้าหมายที่ตั้งเอาไว้

เรื่องนี้ รัฐวิสาหกิจของชาติที่พัฒนาแล้วในโลกเขาทำกันอย่งนี้ทั้งนั้น ยกเว้นประเทศที่จะขาวรัฐวิสาหกิจอย่างเดียว

ในอเมริกานั้น เทษบาลเมืองต่างๆ พากันซ์อบรัษํทเอกชนกลับเข้ามาทำรัฐวิสาหกิจกันมากมาย โดยมีเป้าหมายชัดเจนว่าจะให้มีรูปแบบการบริหารเพื่อบริการสังคม โดยภาครัฐยินยอมให้เงินอุดหนุนชัดเจน

การอุดหนุนนั้น ไม่ใช่เรื่องแปลก หากเน้นประสิทธิภาพไปด้วย

กรณีของกระทรวงการคลังในเรื่องนี้ หากอ่านการะให้ชัดจะพบว่า มีจุดเด่นอย่างมากในเรื่องการกำหนดให้เผ้บริหารต้องวางแผนธุรกิจเพือ่สังคมให้ชัดเพื่อจะได้รู้ว่าแต่ละปี จะขาดทุนเท่าใดกันแน่ เพื่อจะได้กำหนดวงเงินชัดเจนในการอุดหนุน เพื่อให้บริหารการคลังง่ายดายมากขึ้น

จากนั้น ก็มาวัดประสิทธิภาพด้วยการดูว่าบรรลุเป้าหมายขาดทุนหรือบริการสังคมได้ตามเป้ามากน้อยเพียงใด เพื่อประเมิณความสามารถผู้บริหาร

ตัวอย่างเช่น ขสมก. ที่ถือเป็นบริการสังคม ซึ่งมีต้นทุนต่อกิโลเมตรค่อนข้างสูง เทียบกับรายได้ที่ได้รับ ดังนั้นการขาดทุนจึงเป็นเรื่องต้องเกิดขึ้น เพียงแต่ว่า ถ้าหากให้บริการที่ประชาชนพึงพอใจ และกำหนดยอดขาดทุนได้ตามที่กำหนดคำถามก็จะหมดไป

เรื่องนี้ คุณอารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม ผู้อำนวยการสำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสหกิจ (สคร.) ระบุว่า รัฐวิสหกิจที่อยู่ในข่ายได้รับเงินอุดหนุนเป็นรัฐวิสหกิจขนาดใหญ่ 4 แห่งได้แก่ การรถไฟแห่งประเทศไทย (ร.ฟ.ท.) องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) การประปาส่วนภูมิภาค (กปภ.) และการเคหะแห่งชาติ (กคช.) ซึ่งการชดเชยแบบเก่าไม่มีประสิทธิภาพ ไม่มีความชัดเจน เป็นการอุดหนุ่นการดำเนินการขาดทุน การอุดหน่นการใช้หนี้แทน รวมถึงอุดหนุนเงินบงทุนแต่ภายไต้ระเบียบใหม่จะมีการพิจาราณาส่วนที่ขาดทุนจากการบริการสาธารณะเท่านั้น

ถือเป็นมติใหม่สำหรับเมืองไทยที่จะมีรูปแบบการบริหารตามเป้าหมายสำหรับรัฐวิสหกิจกัน่จริงจังเสียที่ หลังจากปล่อยให้เละเทะกันมายาวนาน

เรื่องนี้ หากผสมกันกับข้อเท็จจริงที่ สคร. กำลังดำเนินการจัดทำข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบแล้วของรัฐวิสาหกิจทุกแห่งขึ้นเว็บไซต์ เพื่อให้สื่อมวลชนและประชาชนเข้าไปดูผลการดำเนินงานได้ ก็ถือว่าเป็ฯการขับเคลือนกระบวนการจัดการที่โปร่งใสมากขึ้น โดยที่ไม่ต้องไปไต่ถามเกี่ยวกับความจำเป็นต้องแปลงรูปเป็นบริษัทมหาชนเข้าตลาดหุ้นหรือไม่ ให้เสียเวลา

เพียงแต่เหตุผลในการเข้าตลาดหุ้นเพื่อระดมทุนมหาศาลสำหรับรัฐวิสหกิจหลายแห่งที่จะต้องลงทุนจำนวนหลายแสนล้านในอนาคต โดยเฉพาะกิจการสาธารณูปโภคทั้งหลาย ก็น่าจะย้งเป็นช่องทางที่เลื่ยงไม่พ้น เพราะไม่อย่างนั้นจะติดกับปัญหาเรื่องเดานก่อนหนี้สาธารณะต่อไป

ความก้าวหน้า ในเชิงบวกอย่างนี้ ไม่ว่ารัฐบาลขิงแก่จะรู้ตัวหรือไม่ หรืเป็ฯเพราะทำไปตามระเบียบที่ข้าราชการชงเรื่องขึ้นมาเป็นแกนๆ ก็ยังถือเป็นคำชมที่ควรกระทำกัน

อย่างน้อย การบริหารรัฐจะได้คืบหน้ายกระดับสูงขึ้น ไม่ถอยหลังเข้าคลองไปอย่งไร้ทิศทาง

จะได้ไม่ต้องมาพะวงกับอารมณ์ที่ไร้เหตุผลเรื่อง "ขายชาติ" หรือ "รักชาติ" แบบเอ็นจีโอ ทีสมองคับแคบอีกต่อไป


โดย วิษณุ โชลิตกุล
 


งง??.....................
 
แสนรู้จัง 324 ....
 
คลังหนุนขึ้นเงินเดือนรัฐวิสาหกิจ 4%....รวยกันใหญ่ เขร้!!!
 
  • กระทู้ ผู้เขียน
  • #5
แล้วไอ้เรื่องที่มีการริเริ่มแนวคิดที่จะให้มีการนำเงินสำรอง
ธนาบัตรมาใช้จ่ายโดยการให้มีการนำออกมาทำธุรกรรม
ต่างๆละมันไม่น่าจะดีนะเพราะมันได้ระบุไว้ว่าให้แบงค์
ชาติเป็นผู้ดำเนินการซึ่งก็เหมือนการตั้งกองทุนขึ้นมาแล้ว
ให้แบงค์ชาติเป็นผู้จัดการกองทุนเลยมีคำถามนิ๊สนึงว่าเราจะ
เชื่อฝีมือแบงค์ชาติได้ขนาดไหน หลังจากที่ได้ทำให้ประเทศขาดทุน ไปแล้วไม่น่าจะต่ำกว่าล้านๆบาท นะหรือว่าท่านว่ายังไงละท่านโบร๊กเกอร์
 
ทำไมพ่อตูรีบเกษียรทำไมวะ เงินเดือนเพิ่ม4เปอร์เซนต์ เขร้
 
  • กระทู้ ผู้เขียน
  • #8
แล้วไอ้เรื่องที่มีการริเริ่มแนวคิดที่จะให้มีการนำเงินสำรอง
ธนาบัตรมาใช้จ่ายโดยการให้มีการนำออกมาทำธุรกรรม
ต่างๆละมันไม่น่าจะดีนะเพราะมันได้ระบุไว้ว่าให้แบงค์
ชาติเป็นผู้ดำเนินการซึ่งก็เหมือนการตั้งกองทุนขึ้นมาแล้ว
ให้แบงค์ชาติเป็นผู้จัดการกองทุนเลยมีคำถามนิ๊สนึงว่าเราจะ
เชื่อฝีมือแบงค์ชาติได้ขนาดไหน หลังจากที่ได้ทำให้ประเทศขาดทุน ไปแล้วไม่น่าจะต่ำกว่าล้านๆบาท นะหรือว่าท่านว่ายังไงละท่านโบร๊กเกอร์


ไหน ไหน..ว่ามาอีกทีซิ
 
  • กระทู้ ผู้เขียน
  • #10
แล้วไอ้เรื่องที่มีการริเริ่มแนวคิดที่จะให้มีการนำเงินสำรอง
ธนาบัตรมาใช้จ่ายโดยการให้มีการนำออกมาทำธุรกรรม
ต่างๆละมันไม่น่าจะดีนะเพราะมันได้ระบุไว้ว่าให้แบงค์
ชาติเป็นผู้ดำเนินการซึ่งก็เหมือนการตั้งกองทุนขึ้นมาแล้ว
ให้แบงค์ชาติเป็นผู้จัดการกองทุนเลยมีคำถามนิ๊สนึงว่าเราจะ
เชื่อฝีมือแบงค์ชาติได้ขนาดไหน หลังจากที่ได้ทำให้ประเทศขาดทุน ไปแล้วไม่น่าจะต่ำกว่าล้านๆบาท นะหรือว่าท่านว่ายังไงละท่านโบร๊กเกอร์



มันขึ้นอยู่ที่ว่าเค้าจะนำเงินนั้นไปลงทุนอะไร และมีความเสี่ยงแค่ไหน ส่วนที่ว่าเชื่อฝีมือได้แค่ไหนนั้น การลงทุนทุกอย่างมีความเสี่ยงทั้งนั้น แต่! ไม่สมควรเอาเงินประเทศชาติไปพลานขนาดนั้นแมร่ง ไม่อยากด่า..
 
มันขึ้นอยู่ที่ว่าเค้าจะนำเงินนั้นไปลงทุนอะไร และมีความเสี่ยงแค่ไหน ส่วนที่ว่าเชื่อฝีมือได้แค่ไหนนั้น การลงทุนทุกอย่างมีความเสี่ยงทั้งนั้น แต่! ไม่สมควรเอาเงินประเทศชาติไปพลานขนาดนั้นแมร่ง ไม่อยากด่า..

ปากจัดเจรงๆ
 
มันขึ้นอยู่ที่ว่าเค้าจะนำเงินนั้นไปลงทุนอะไร และมีความเสี่ยงแค่ไหน ส่วนที่ว่าเชื่อฝีมือได้แค่ไหนนั้น การลงทุนทุกอย่างมีความเสี่ยงทั้งนั้น แต่! ไม่สมควรเอาเงินประเทศชาติไปพลานขนาดนั้นแมร่ง ไม่อยากด่า..
ถึงด่าไปก็เท่านั้นแหละน้าเอ๊ย..!!! :sweat:
 
  • กระทู้ ผู้เขียน
  • #14
สาระหน่อย นังชนีมีเขา อ้อ...ลืมไปมันอยู่เป็นขนานกะสาระหรือที่เรียกว่าฉลาดนะเอง:biggrin::biggrin:


เห็นๆ เค้าเรียกันมันกันว่า " เควี่ย " นะ
 
4% ก็ไม่มากน่ะ...อิอิ
 
สาระหน่อย นังชนีมีเขา อ้อ...ลืมไปมันอยู่เป็นขนานกะสาระหรือที่เรียกว่าฉลาดนะเอง:biggrin::biggrin:


เห็นๆ เค้าเรียกันมันกันว่า " เควี่ย " นะ

เป็นเดือดเป็นร้อนแทนกันว่างั้นเหอะ
 

กรุณาปิด โปรแกรมบล๊อกโฆษณา เพราะเราอยู่ได้ด้วยโฆษณาที่ท่านเห็น
Please close the adblock program. Because we can live with the ads you see
กลับ
ยอดนิยม