- กระทู้ ผู้เขียน
- #1
เป็นที่รู้กันดีว่าฤดูกาลต่างๆในบ้านเรานั้น แปรปรวนเสียยิ่งกว่าการเมืองและเศรษฐกิจ เดี๋ยวหนาวเดี๋ยวร้อนเดี๋ยวฝนตกถึงแม้ว่าในช่วงเดือน นี้จะเพิ่งเริ่มต้นฤดูร้อนแต่ทุกท่านต้องเตรียมใจไว้ เลยว่าแต่ละปีนั้นอุณหภูมิของโลกสูงขึ้นเรื่อยๆ เพราะการกระทำของมนุษย์กว่า 90 % ทีเดียว ไม่ว่าจะเป็นการตัดต้นไม้ การเผาป่า กิจการอุตสาหกรรมต่างๆ ฯลฯ และไม่ว่าอากาศจะเป็นเช่นไรคนเราก็ต้องดำเนินชีวิตอย ู่ภายนอกวันละหลายชั่วโมง ยิ่งเวลาที่ต้องอยู่ในรถยนต์พร้อมอากาศร้อนๆแล้วอาจจ ะทำให้เกิดความเครียด อารมณ์เสียขึ้นมาได้ง่ายๆ เรียกได้ว่าทรมานจิตใจเลยทีเดียว ยิ่งบรรดาคุณผู้หญิงที่รักสวยรักงามด้วยแล้วแสงแดดที ่ส่องผ่านกรจะมานั้นทำให้ผิวเสียได้ง่ายๆจนถึงขั้นเส ี่ยงต่อการเป็นมะเร็งผิวหนังเลยทีเดียว
ดังนั้นวิธีการทำให้เราอยู่ในรถได้อย่างสบายกาย คือ การใช้ความเย็นจากเครื่องปรับอากาศ ซึ่งก็คงต้องมีประสิทธิภาพดีๆ ไว้สู้กับความร้อน แต่ก็ต้องเสริมด้วยวิธีป้องกันความร้อนจากภายนอ ก ไม่ให้เข้าสู่ภายใน ก็คือการติดฟิล์มกรองแสงหรือฟิล์มกันความร้อนนั ่นเอง ซึ่งในเมืองร้อนอย่างเรา รถกว่า 90% ต้องติดฟิล์มกรองแสง กันทั้งนั้น
ก่อนอื่นต้องมาทำความรู้จักกับหน้าที่ของมันและคุณปร ะโยชน์ที่เราจะได้รับกันก่อน
**รู้จักฟิล์มกรองแสง**
ฟิล์มกรองแสง คือ ฟิล์มพลาสติกที่ทำมาจากโพลีเอสเตอร์ที่มีความเห นียว มีความบางเรียบ ไร้รอยย่น และสามารถแนบสนิทเป็นเนื้อเดียวกับกระจกที่นำฟิล์มไป ติด ซึ่งยึดกระจกได้ด้วยกาวที่มีความบางใส ไม่ทำให้ภาพที่มองเห็นผ่านฟิล์มมีความบิดเบือน (Distortion)
ประเภทของฟิล์มกรองแสง
1 ฟิล์มย้อมสี (Dyed Film) เป็นฟิล์มที่ผลิตด้วยเทคโนโลยีขั้นต่ำ โดยจะนำสีมาย้อมที่กาวโพลีเอสเตอร์ มีคุณสมบัติในการกรองแสงได้ แต่สามารถลดความร้อนได้น้อย กาวที่ใช้ไม่มีคุณภาพ ราคาถูก อายุการใช้งานสั้นไม่เกิน 3 ปี เมื่อเสื่อมสภาพสีจะจางลง เปลี่ยนเป็นสีม่วง โป่งพอง กาวจะเสี่ยมทำให้รบกวนทัศนวิสัย ส่วนใหญ่ใช้เป็นฟิล์มแถม
ฟิล์มย้อมสีนี้ยังมีผู้บริโภคที่เข้าใจผิดอยู่ว่าติด แล้วสามารถลดความร้อนได้ โดยเฉพาะผู้ที่เลือกสีเข้ม (ฟิล์ม 80% หรือแสงส่องผ่านได้ประมาณ 5-10%) เพราะความเข้มของฟิล์มจะทำให้รู้สึกสบาย แต่สีของฟิล์มที่เข้มมากยิ่งจะดูดซับพลังงานความร้อน ไว้แล้วค่อยๆส่งผ่านมาในอาคารหรือรถยนต์ทำให้ร้อนขึ้ น
2 ฟิล์มเคลือบละอองโลหะ (Metallized Film) เป็นฟิล์มที่ผลิตด้วยเทคโนโลยีขั้นสูง โดยใช้วิธีทางวิทยาสาศตร์นำเอาอนุภาคของโลหะมาเคลือบ ไว้บนแผ่นโพลีเอสเตอร์ ทำให้สามารถสะท้อนพลังงานความร้อนได้ดียิ่งขึ้น จึงสามารถลดความร้อนได้ดีกว่าฟิล์มย้อมสีมาก อายุการใช้งานนานกว่าประมาณ 5 - 7ปี กาวและโพลีเอสเตอร์มีคุณภาพดีกว่า ราคาสูงกว่า
3 ฟิล์มเคลือบอนุภาคโลหะ (Metal Sputtering Film) ใช้การเหนี่ยวนำของประจุไฟฟ้าในสุญญากาศให้อนุภาคโลห ะไปเกาะติดบนแผ่นโพลีเอสเตอร์ ทำให้ได้ฟิล์มที่มีความคงทนมาก ลดความร้อนได้มากพอกันกับที่2 ประมาณ 50-70% ฟิล์มประเภทนี้เหมาะสมกับการใช้ติดตั้งกระจกอาคารมาก ที่สุด มีราคาค่อนข้างสูง
**แสงอาทิตย์ที่ต้องรู้จัก**
แสงอาทิตย์ (Solar Radiation) จะประกอบด้วยพลังงานในรูปแบบของคลื่นแม่เหล็กไฟ ฟ้า เกิดจากการนำพาของคลื่นรังสีความร้อน(Convectio n) ผ่านมาในตัวกลางอากาศเข้ามากระทบกับรังสีต่างๆ เมื่อมากระทบกับผิวหนังของเราจึงรู้สึกร้อน แสงแดดและความร้อนเป็นพลังงานที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริย านิวเคลียร์ ฟิวชั่น(Fusion) ซึ่งเป็นการรวมตัวกันของนิวเคลียสอะตอม ไฮโดรเจนเป็นนิวเคลียสที่มีน้ำหนักมากขึ้น ทำให้เกิดการแตกตัวของอะตอมจนคลายพลังงานออกมาเป็นพล ังงานแสงอาทิตย์(Solar Energy) จึงเดินทางมาสู่บรรยากาศโลกในลักษณะคลื่นแม่เหล็กไฟฟ ้า(Spectrum) โดยจะมีความยาวคลื่น(Wavelength) ที่แตกต่างกัน ส่วนที่มาถึงโลก แบ่งตามความยาวคลื่น ได้ 3 กลุ่ม
1) แสงสว่างที่มองเห็นด้วยตาเปล่า(Visible Light) กลุ่มนี้จะมีความยาวคลื่นอยู่ในช่วงที่สายตามนุษย์มอ งเห็นได้คือ 370-780 นาโนเมตร มองรวมๆเราจะเห็นเป็นสีขาว แต่ถ้าใช้อุปกรณ์หรือตัวกลางบางอย่างที่กระจายคลื่นแ สงได้ เช่น ปริซึมจะเห็นเป็น 7 สี หรือที่เรียกว่า Rainbow นั่นเอง ในแสงกลุ่มนี้จะมีสัดส่วนในแสงอาทินย์เท่ากับ 44%
2) แสงที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า (Invisible Light) กลุ่มที่มีความยาวคลื่นยาวกว่าที่ตาเรามองเห็นไ ด้ คือยาวกว่า 780 นาโมเมตรขึ้นไป เราเรียกแสงในกลุ่มนี้ว่ารังสี อินฟาเรด(Infrared Rays) กลุ่มนี้เป็นตัวการสำคัญหลักที่ทำให้เกิดความร้ อน ทำให้วัตถุมีสี ซีดจางและแตกกรอบได้ โดยจะมีสัดส่วนอยู่ในแสงอาทิตย์เท่ากับ 53%
3) แสงที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า ชนิดความยาวคลื่นสั้นกว่าที่ตาเรามองเห็นได้ คือจะสั้นกว่า 370 นาโมเมตร เราเรียกแสงกลุ่มนี้ว่า รังสีอุลตร้าไวโอแลต(Untra Violet Rays) หรือ UV กลุ่มนี้เป็นตัวการสำคัญที่ทำให้สีของวัตถุซีดจาง,กร อบแห้ง,ผิวหนังหมองคล้ำ
เหี่ยวย่น และทำให้สายตาเกิดต้อกระจก มะเร็งผิวหนัง โดยจะมีสัดส่วนอยู่ในแสงอาทิตย์เท่ากับ 3%
รังสี UV มีส่วนประกอบ 3 ส่วนคือ UV-A UV-B และ UV-C แตกต่างกันที่ความยาวคลื่น โดย UV-A จะมีความยาวคลื่นมากที่สุดในกลุ่มเรียงขึ้นไปตามลำดั บ UV-C จะสั้นที่สุด แต่ UV-C จะมีอันตรายมากที่สุด มนุษย์เราโชคดีที่ยังมีโอโซนของโลกในชั้นบรรยากาศดูด ซับไว้ทั้งหมด ถัดมา UV-B เป็นต้นเหตุของมะเร็งผิวหนังแต่สามารถป้องกันได้ด้วย วัสดุป้องกันแสงทั่วไป เช่น กระจกหน้าต่าง เสื้อผ้า เป็นต้น พูดง่ายๆว่า อย่าให้แสงแดดถูกผิวหนังโดยตรงจะดีที่สุด ส่วน UV-A สามารถป้องกันด้วยฟิล์มกรองแสงได้เกือบ 100%
**แสงแดดเข้ามาในรถได้อย่างไร**
แสงแดดเดินทางมาบนผิวโลกโดยการแผ่รังสี (Radiation) โดยไม่ต้องอาศัยตัวกลาง ใดๆพามา เมื่อมาถึงก็จะถ่ายเทความร้อนไปได้ 2 ทางคือ เดินทางจากสิ่งที่มีอุณหภูมิสูงกว่าไป ยังที่ๆมีอุณหภูมิต่ำกว่าคือ การนำความร้อน(Conduction) ในส่วนนี้จะเป็นคุณสมบัติพิเศษ ของรังสีอินฟาเรด โดยพลังงานความร้อนจะถ่ายเทผ่านมาทางโมเลกุลของตัวกล างวัสดุต่างๆ ความร้อนก็จะวิ่งจากที่ๆมีอุณหภูมิสูงไปยังที่ๆมีอุณ หภูมิต่ำกว่า อีกทางก็คือ การพาความร้อน(Convection) โดยการส่งความร้อนผ่านตัวกลางที่เป็นอากาศภายในรถเมื ่อรังสีอินฟาเรดสัมผัสกับผิวกระจกรถ ทำให้กระจกได้รับความร้อน
เมื่อกระจกรถร้อนก็จะถ่ายเทความร้อนที่เกิดขึ้นให้กั บอากาศภายใน ซึ่งภายในรถมีอุณหภูมิ ต่ำกว่าผิวกระจกรถ ดังนั้นการป้องกันไม่ให้คลื่นความร้อนวิ่งเข้ามาสู่ภ ายใน จนทำให้ชิ้นส่วนและอุปกรณ์ภายในรถมีสีซีดจาง แตกกรอบง่าย อายุการใช้งานลดลง และที่สำคัญผู้ที่อยู่ในรถคือมนุษย์เกิดความรู้สึกร้ อนและทรมานจากแสงแดด การที่จะหาสิ่งที่มาป้องกันแสงแดดที่ดีก็คือ การหันมาใช้ "ฟิล์มกรองแสง" นั่นเอง
รูป
ดังนั้นวิธีการทำให้เราอยู่ในรถได้อย่างสบายกาย คือ การใช้ความเย็นจากเครื่องปรับอากาศ ซึ่งก็คงต้องมีประสิทธิภาพดีๆ ไว้สู้กับความร้อน แต่ก็ต้องเสริมด้วยวิธีป้องกันความร้อนจากภายนอ ก ไม่ให้เข้าสู่ภายใน ก็คือการติดฟิล์มกรองแสงหรือฟิล์มกันความร้อนนั ่นเอง ซึ่งในเมืองร้อนอย่างเรา รถกว่า 90% ต้องติดฟิล์มกรองแสง กันทั้งนั้น
ก่อนอื่นต้องมาทำความรู้จักกับหน้าที่ของมันและคุณปร ะโยชน์ที่เราจะได้รับกันก่อน
**รู้จักฟิล์มกรองแสง**
ฟิล์มกรองแสง คือ ฟิล์มพลาสติกที่ทำมาจากโพลีเอสเตอร์ที่มีความเห นียว มีความบางเรียบ ไร้รอยย่น และสามารถแนบสนิทเป็นเนื้อเดียวกับกระจกที่นำฟิล์มไป ติด ซึ่งยึดกระจกได้ด้วยกาวที่มีความบางใส ไม่ทำให้ภาพที่มองเห็นผ่านฟิล์มมีความบิดเบือน (Distortion)
ประเภทของฟิล์มกรองแสง
1 ฟิล์มย้อมสี (Dyed Film) เป็นฟิล์มที่ผลิตด้วยเทคโนโลยีขั้นต่ำ โดยจะนำสีมาย้อมที่กาวโพลีเอสเตอร์ มีคุณสมบัติในการกรองแสงได้ แต่สามารถลดความร้อนได้น้อย กาวที่ใช้ไม่มีคุณภาพ ราคาถูก อายุการใช้งานสั้นไม่เกิน 3 ปี เมื่อเสื่อมสภาพสีจะจางลง เปลี่ยนเป็นสีม่วง โป่งพอง กาวจะเสี่ยมทำให้รบกวนทัศนวิสัย ส่วนใหญ่ใช้เป็นฟิล์มแถม
ฟิล์มย้อมสีนี้ยังมีผู้บริโภคที่เข้าใจผิดอยู่ว่าติด แล้วสามารถลดความร้อนได้ โดยเฉพาะผู้ที่เลือกสีเข้ม (ฟิล์ม 80% หรือแสงส่องผ่านได้ประมาณ 5-10%) เพราะความเข้มของฟิล์มจะทำให้รู้สึกสบาย แต่สีของฟิล์มที่เข้มมากยิ่งจะดูดซับพลังงานความร้อน ไว้แล้วค่อยๆส่งผ่านมาในอาคารหรือรถยนต์ทำให้ร้อนขึ้ น
2 ฟิล์มเคลือบละอองโลหะ (Metallized Film) เป็นฟิล์มที่ผลิตด้วยเทคโนโลยีขั้นสูง โดยใช้วิธีทางวิทยาสาศตร์นำเอาอนุภาคของโลหะมาเคลือบ ไว้บนแผ่นโพลีเอสเตอร์ ทำให้สามารถสะท้อนพลังงานความร้อนได้ดียิ่งขึ้น จึงสามารถลดความร้อนได้ดีกว่าฟิล์มย้อมสีมาก อายุการใช้งานนานกว่าประมาณ 5 - 7ปี กาวและโพลีเอสเตอร์มีคุณภาพดีกว่า ราคาสูงกว่า
3 ฟิล์มเคลือบอนุภาคโลหะ (Metal Sputtering Film) ใช้การเหนี่ยวนำของประจุไฟฟ้าในสุญญากาศให้อนุภาคโลห ะไปเกาะติดบนแผ่นโพลีเอสเตอร์ ทำให้ได้ฟิล์มที่มีความคงทนมาก ลดความร้อนได้มากพอกันกับที่2 ประมาณ 50-70% ฟิล์มประเภทนี้เหมาะสมกับการใช้ติดตั้งกระจกอาคารมาก ที่สุด มีราคาค่อนข้างสูง
**แสงอาทิตย์ที่ต้องรู้จัก**
แสงอาทิตย์ (Solar Radiation) จะประกอบด้วยพลังงานในรูปแบบของคลื่นแม่เหล็กไฟ ฟ้า เกิดจากการนำพาของคลื่นรังสีความร้อน(Convectio n) ผ่านมาในตัวกลางอากาศเข้ามากระทบกับรังสีต่างๆ เมื่อมากระทบกับผิวหนังของเราจึงรู้สึกร้อน แสงแดดและความร้อนเป็นพลังงานที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริย านิวเคลียร์ ฟิวชั่น(Fusion) ซึ่งเป็นการรวมตัวกันของนิวเคลียสอะตอม ไฮโดรเจนเป็นนิวเคลียสที่มีน้ำหนักมากขึ้น ทำให้เกิดการแตกตัวของอะตอมจนคลายพลังงานออกมาเป็นพล ังงานแสงอาทิตย์(Solar Energy) จึงเดินทางมาสู่บรรยากาศโลกในลักษณะคลื่นแม่เหล็กไฟฟ ้า(Spectrum) โดยจะมีความยาวคลื่น(Wavelength) ที่แตกต่างกัน ส่วนที่มาถึงโลก แบ่งตามความยาวคลื่น ได้ 3 กลุ่ม
1) แสงสว่างที่มองเห็นด้วยตาเปล่า(Visible Light) กลุ่มนี้จะมีความยาวคลื่นอยู่ในช่วงที่สายตามนุษย์มอ งเห็นได้คือ 370-780 นาโนเมตร มองรวมๆเราจะเห็นเป็นสีขาว แต่ถ้าใช้อุปกรณ์หรือตัวกลางบางอย่างที่กระจายคลื่นแ สงได้ เช่น ปริซึมจะเห็นเป็น 7 สี หรือที่เรียกว่า Rainbow นั่นเอง ในแสงกลุ่มนี้จะมีสัดส่วนในแสงอาทินย์เท่ากับ 44%
2) แสงที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า (Invisible Light) กลุ่มที่มีความยาวคลื่นยาวกว่าที่ตาเรามองเห็นไ ด้ คือยาวกว่า 780 นาโมเมตรขึ้นไป เราเรียกแสงในกลุ่มนี้ว่ารังสี อินฟาเรด(Infrared Rays) กลุ่มนี้เป็นตัวการสำคัญหลักที่ทำให้เกิดความร้ อน ทำให้วัตถุมีสี ซีดจางและแตกกรอบได้ โดยจะมีสัดส่วนอยู่ในแสงอาทิตย์เท่ากับ 53%
3) แสงที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า ชนิดความยาวคลื่นสั้นกว่าที่ตาเรามองเห็นได้ คือจะสั้นกว่า 370 นาโมเมตร เราเรียกแสงกลุ่มนี้ว่า รังสีอุลตร้าไวโอแลต(Untra Violet Rays) หรือ UV กลุ่มนี้เป็นตัวการสำคัญที่ทำให้สีของวัตถุซีดจาง,กร อบแห้ง,ผิวหนังหมองคล้ำ
เหี่ยวย่น และทำให้สายตาเกิดต้อกระจก มะเร็งผิวหนัง โดยจะมีสัดส่วนอยู่ในแสงอาทิตย์เท่ากับ 3%
รังสี UV มีส่วนประกอบ 3 ส่วนคือ UV-A UV-B และ UV-C แตกต่างกันที่ความยาวคลื่น โดย UV-A จะมีความยาวคลื่นมากที่สุดในกลุ่มเรียงขึ้นไปตามลำดั บ UV-C จะสั้นที่สุด แต่ UV-C จะมีอันตรายมากที่สุด มนุษย์เราโชคดีที่ยังมีโอโซนของโลกในชั้นบรรยากาศดูด ซับไว้ทั้งหมด ถัดมา UV-B เป็นต้นเหตุของมะเร็งผิวหนังแต่สามารถป้องกันได้ด้วย วัสดุป้องกันแสงทั่วไป เช่น กระจกหน้าต่าง เสื้อผ้า เป็นต้น พูดง่ายๆว่า อย่าให้แสงแดดถูกผิวหนังโดยตรงจะดีที่สุด ส่วน UV-A สามารถป้องกันด้วยฟิล์มกรองแสงได้เกือบ 100%
**แสงแดดเข้ามาในรถได้อย่างไร**
แสงแดดเดินทางมาบนผิวโลกโดยการแผ่รังสี (Radiation) โดยไม่ต้องอาศัยตัวกลาง ใดๆพามา เมื่อมาถึงก็จะถ่ายเทความร้อนไปได้ 2 ทางคือ เดินทางจากสิ่งที่มีอุณหภูมิสูงกว่าไป ยังที่ๆมีอุณหภูมิต่ำกว่าคือ การนำความร้อน(Conduction) ในส่วนนี้จะเป็นคุณสมบัติพิเศษ ของรังสีอินฟาเรด โดยพลังงานความร้อนจะถ่ายเทผ่านมาทางโมเลกุลของตัวกล างวัสดุต่างๆ ความร้อนก็จะวิ่งจากที่ๆมีอุณหภูมิสูงไปยังที่ๆมีอุณ หภูมิต่ำกว่า อีกทางก็คือ การพาความร้อน(Convection) โดยการส่งความร้อนผ่านตัวกลางที่เป็นอากาศภายในรถเมื ่อรังสีอินฟาเรดสัมผัสกับผิวกระจกรถ ทำให้กระจกได้รับความร้อน
เมื่อกระจกรถร้อนก็จะถ่ายเทความร้อนที่เกิดขึ้นให้กั บอากาศภายใน ซึ่งภายในรถมีอุณหภูมิ ต่ำกว่าผิวกระจกรถ ดังนั้นการป้องกันไม่ให้คลื่นความร้อนวิ่งเข้ามาสู่ภ ายใน จนทำให้ชิ้นส่วนและอุปกรณ์ภายในรถมีสีซีดจาง แตกกรอบง่าย อายุการใช้งานลดลง และที่สำคัญผู้ที่อยู่ในรถคือมนุษย์เกิดความรู้สึกร้ อนและทรมานจากแสงแดด การที่จะหาสิ่งที่มาป้องกันแสงแดดที่ดีก็คือ การหันมาใช้ "ฟิล์มกรองแสง" นั่นเอง
รูป